Музей динозавров Пху-Вианг (Таиланд)

Phu Wiang Dinosaur Museum

Музей динозавров Пху-Вианг (тайск. พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียง) — палеонтологический музей в Таиланде. Находится в ведении Департамента минеральных ресурсов Министерства природных ресурсов и охраны окружающей среды Таиланда. Расположен в неподалёку от города Кхонкэн, столицы одноимённой провинции в северо-восточной части страны. Построен при финансовой поддержке Туристического управления Таиланда. Имеет площадь 160 тыс. м². Открыт в 2001 году.

Первая находки динозавров в Таиланде

Начиная с 1970 года Геологическая служба США проводила разведку полезных ископаемых в раоне Пху-Вианг провинции Кхонкэн. Исследователи обнаружили один из типов урановой руды, коффинит, в залежах медных руд, азурит и малахит. К исследованиям присоединилось Международное агентство по атомной энергии (МАГАТЭ). Между 1975 и 1980 годами Департамент минеральных ресурсов Таиланда проводил интенсивное бурение, и в 1976 году геолог Судам Йемнийом обнаружил в русле реки Хуай-Прату-Тима фрагмент ископаемой кости, который позже был идентифицирован как дистальная часть левой бедренной кости динозавра из группы зауроподов (крупного травоядного динозавра, с четырьмя ногами, длинной шеей и длинным хвостом). Этот  фрагмент считается первой связанной с динозаврами находкой в Таиланде.

Показать больше

Экспедиции и исследования

Начиная с 1976 года Департамент минеральных ресурсов в сотрудничестве с Тайско-французским палеонтологическим проектом на постоянной основе исследует динозавров гор Пху-Вианг. За это время найдены многочисленные образцы позвонков, зубов и следы динозавров, в основном из песчаника раннего мела в формации Сан-Хуа (возраст около 130 миллионов лет), в том числе зауроподов и тероподов в широком диапазоне размеров — от курицы до большого динозавра около 15 м в длину. Эти находки вызвали интерес среди тайцев, которые начали приезжать на места обнаружения ископаемых останков динозавров. В ноябре 1989 года раскопки посетила принцесса Маха Чакри Сириндхорн. В 2008 году она снова посетила раскопки и созданный к тому времени музей.

Раскопки

После создания в 1991 году Национального парка Пху-Вианг, администрация провинции Кхонкэн, Туристическое управление Таиланда, Департамент природных ресурсов и другие государственные органы признали важность мест обнаружения ископаемых динозавров. Управление по туризму Таиланда выделила средства на раскопки в четырёх местах, где были построены небольшие здания для защиты костей динозавров от внешней среды, а между ними проложены пешеходные дорожки.

Основание музея

Находки динозавров в горах Пху-Вианг были признаны важным открытием, принёсшим местности мировую известность. Особенно этому способствовала находка зауропода, названного в често принцессы Маха Чакри Сириндхорн Phuwiangosaurus sirindhornae. При поддержке нескольких правительственных агентств было решено создать музей динозавров Пху-Вианг. Для его размещения была выбрана общественная территория площадью 160 тыс. м², из которых 5500 м² предназначались под застройку. Финансирование строительства вновь обеспечило Туристическое управление Таиланда. Департаменту минеральных ресурсов было поручено управление музеем и обеспечение сохранности постоянной экспозиции. В 2001 году музей принял первых посетителей.

Состав и задачи музея

Музей динозавров Пху-Вианг ведёт разнообразную деятельность, включая научные исследования, восстановление и консервацию ископаемых останков, хранение коллекции. В его состав входят библиотека, постоянная экспозиция, администрация, кафе, сувенирный магазин, торговые палатки, паркинг и аудитория на 140 человек. В музее динозавров Пху-Вианг проводятся практически занятия по геологии для студентов и школьников из различных учебных заведений. Возможен приём делегаций как из Таиланда, так и из других стран мира.

Виды динозавры из Пху-Вианг

  • Phuwiangosaurus sirindhornae
  • Siamosaurus suteethorni
  • Siamotyrannus isanensis
  • Kinnareemimus khonkaenensis
  • Compsognathus

Доступность

Название музею было дано по району Пху-Вианг, в котором он находился в момент создания. С 2006 года в связи с образованием района Вианг-Као музеё оказался на его территории. Музей находится к западу от города Кхонкэн, центра провинции, от которого его отделяет 80 км.


Рейтинг Google4.2
Дата основания2001

Источник информации: Wikipedia

Показать «Музей динозавров Пху-Вианг» на карте

Музей динозавров Пху-Вианг на карте

Отзывы на «Музей динозавров Пху-Вианг»

Общий рейтинг Гугл (4.2, всего отзывов: 1142). Ниже приведено несколько последних отзывов, полученных от Гугла.

prachya wanna, 2020-09-06

พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียง ตั้งอยู่ที่ตำบลในเมือง อำเภอเวียงเก่า เป็นส่วนหนึ่งของศูนย์ศึกษาวิจัยซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์ภูเวียง เพื่อการอนุรักษ์ เพื่อประโยชน์ของสังคมและส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดการพัฒนาแบบยั่งยืนต่อไป โดยจัดแสดงซากดึกดำบรรพ์ของกระดูกไดโนเสาร์ ชิ้นส่วนต่างๆ และรอยเท้า โดยซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์ชิ้นแรกของไทยพบที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ในปี 2519 อาคารพิพิธภัณฑ์แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนบริการ ได้แก่ ร้านขายของที่ระลึก ห้องอาหาร ห้องบรรยาย ส่วนวิชาการ ได้แก่ ห้องปฏิบัติการ ห้องทำงาน ห้องสมุด และส่วนนิทรรศการ ได้แก่ ห้องจัดแสดงชั้นล่างและชั้นบน จัดแสดงนิทรรศการการกำเนิดโลก หิน แร่ ซากดึกดำบรรพ์ และหุ่นจำลองไดโนเสาร์ นิทรรศการแบ่งออกเป็น 5 โซน โซน 1 กำเนิดจักรวาล วิวัฒนาการสิ่งมีชีวิต และเรื่องราวของไดโนเสาร์ทั่วโลก เป็นเรื่องเกี่ยวกับกำเนิดจักรวาล วัฏจักรการเกิดและสลายของหิน กำเนิดสิ่งมีชีวิต ซากดึกดำบรรพ์ในมหายุคพาลีโอโซอิก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสัตว์ที่กำเนิดในทะเลจนถึงยุคไดโนเสาร์ ที่มีตั้งแต่กำเนิดไดโนเสาร์ วิวัฒนาการของไดโนเสาร์ และการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์ ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อ 65 ล้านปีก่อน โดยมีหลักฐานสำคัญคือ การพุ่งชนของอุกกาบาตลูกใหญ่ที่บริเวณประเทศเม็กซิโกในปัจจุบัน ที่มีความแรงระเบิดมากกว่าระเบิดไฮโดรเจนเป็นล้าน ๆ เท่าจนทำให้เกิดภัยพิบัติรุนแรงจนสิ่งมีชีวิตในโลกขณะนั้นสูญพันธุ์เป็นจำนวนมาก รวมทั้งเป็นการสิ้นสุดยุคไดโนเสาร์ โซน 2 ไดโนเสาร์ในแหล่งเทือกเขาภูเวียง นำเสนอซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์ชิ้นแรกในประเทศไทย และไดโนเสาร์ที่พบในประเทศไทย โดยเฉพาะที่พบในแหล่งขุดค้นภูเวียงนั้นมีถึง 5 สายพันธุ์ ในโซนนี้ยังมีเรื่องราวของธรณีวิทยาเทือกเขาภูเวียงและประวัติการค้นพบ อันเนื่องจากเทือกเขาภูเวียงมีลักษณะแอ่งกระทะ เป็นแหล่งรวมซากดึกดำบรรพ์เก่าแก่จำนวนมาก สันนิษฐานว่าเป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ดึกดำบรรพ์ในยุคโลกล้านปี โดยจะมีแผนผังการขุดค้นพบขนาดใหญ่ที่บรรจุหลุมขุดค้นทั้ง 9 หลุม พร้อมตัวอย่างซากดึกดำบรรพ์ที่ขุดค้นได้ ถัดมาจะเป็นซากดึกดำบรรพ์ในมหายุคมีโซโซอิก มีช่วงอายุตั้งแต่ 251 – 65 ล้านปีมาแล้ว ซึ่งอาจพูดว่าเป็นมหายุคที่สัตว์เลื้อยคลานครองโลกก็ได้ โซน 3 ห้องปฏิบัติการด้านซากดึกดำบรรพ์ ธรณีวิทยาและซากดึกดำบรรพ์ในจังหวัดขอนแก่น ชมห้องปฏิบัติการของนักธรณีวิทยาผ่านกระจกใส และใกล้ ๆ กัน ก็จะเป็นมุมที่รวบรวมซากดึกดำบรรพ์ที่ขุดพบในจังหวัดขอนแก่น โซน 4 สวนไดโนเสาร์ โซนนี้จะตกแต่งเป็นสวนป่ายุคดึกดำบรรพ์ที่มีหุ่นไดโนเสาร์ขนาดเท่าตัวจริง แต่งเดิมด้วยแสงและเสียงร้องของไดโนเสาร์ เข้าบรรยากาศโลกยุคไดโนเสาร์ โซน 5 ยุคเทอร์เชียรี การใช้ประโยชน์หินแร่ และห้องเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นเรื่องราวในยุคเทอร์เชียรี ที่นำเสนอหินและแร่ในประเทศไทย อุปกรณ์สำรวจทางธรณีวิทยา ปิโตรเลียมและธรณีพิบัติภัย ซึ่งเป็นภารกิจหนึ่งของกรมทรัพยากรธรณี ในการให้ความรู้และเฝ้าระวังและเตือนภัยในเรื่องของธรณีพิบัติภัยทุกประเภท ห้องเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งจะทำให้ได้ซาบซึ้งในพระราชกรณียกิจ ของพระองค์ท่านด้านธรณีวิทยา เห็นได้ว่าท่านทรงสนพระทัย ในทุกภารกิจของบ้านเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานทางด้านวิชาการทุกแขนง ประวัติความเป็นมาของแหล่งไดโนเสาร์เทือกเขาภูเวียง ซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์ชิ้นแรกของไทยพบที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ในปี 2519 โดยนายสุธรรม แย้มนิยม อดีตนักธรณีวิทยาของกรมทรัพยากรธรณี ขณะสำรวจแร่ยูเรเนียม ในหมวดหินเสาขัว ที่อุทยานแห่งชาติภูเวียง บริเวณห้วยประตูตีหมา กระดูกชิ้นนี้มีความกว้างยาวประมาณ 1 ฟุต จากการเปรียบเทียบพบว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับไดโนเสาร์ซอโรพอดซึ่งมีขนาดใหญ่ ยาวประมาณ 15 เมตร และจากการตรวจสอบพบว่าเป็นส่วนปลายล่างสุดของกระดูกต้นขาของไดโนเสาร์จำพวกกินพืช การสำรวจไดโนเสาร์ที่ภูเวียงได้เริ่มต้นอย่างจริงจังในปี 2524 โดยนายเชิงชาย ไกรคง นักธรณีวิทยาจากกรมทรัพยากรธรณี ได้พาคณะสำรวจโบราณชีววิทยาไทยและฝรั่งเศสขึ้นไปสำรวจกระดูกไดโนเสาร์ บริเวณยอดห้วยประตูตีหมา อำเภอภูเวียง คณะสำรวจพบกระดูกไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ รวมทั้งฟันจระเข้ กระดองเต่า ฟันและเกล็ดปลาโบราณ และจากการสำรวจในเวลาต่อมาได้พบกระดูกไดโนเสาร์อีกหลายชนิด ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียงจึงถูกจัดตั้งขึ้น โดยความร่วมมือของกรมทรัพยากรธรณี การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และจังหวัดขอนแก่น เพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าวิจัยซากดึกดำบรรพ์อย่างเป็นระบบของนักธรณีวิทยา ทั้งเป็นแหล่งเรียนรู้แก่เยาวชนและผู้สนใจ รายละเอียดเพิ่มเติม วันอังคาร-วันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 9.00 น. – 17.00 น. หยุดทุกวันจันทร์ ยกเว้นวันจันทร์ที่ตรงกับวันหยุดนักขัตฤกษ์เปิด
Peter Manee, 2020-10-10

เหมาะสำหรับครอบครัวพาเด็กๆมาศึกษาเรื่องไดโนเสาร์
Kmon Diskun, 2020-08-03

ข้อดี จอดรถสะดวก มีสวนภายนอกมีรูปปั้นไดโนเสา เด็กๆชอบมาก การจัดแสดงมีคุณภาพมาก เนื้อหา การตัดแสง การจัดหมวดหมู่ เข้าใจง่าย ถ้าอ่านครบๆต้องใช้เวลา 1-2 ชั่วโมง ห้องน้ำสะอาด มีที่นั่งพักทานอาหาร ข้อเสีย สั้นเกินไป แต่มีอีกอาคารด้านหลังยังสร้างไม่เสร็จ สร้างมาหลายปีแล้ว ถ้าเปิดเมื่อไหรจะมาอีก
Pannawat Lii, 2020-08-31

สถานที่อยู่ไกลลึก ต้องมีรถส่วนตัว ควรร่วมกันขายบัตรเที่ยวกับอุทยานภูเวียง แบบให้มีส่วนลดเมื่อเข้าชมทั้ง2สถานที่ ในส่วนของอาคารแสดงจัดทำได้ดีตามมาตรฐานพิพิธภัณฑ์น่าศึกษาเข้าชม
มงคล จันทรรังสรรค์, 2020-09-06

มีโอกาสได้มาถึงถิ่นของไดโนเสา